วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Rice
Rice is the seed of the monocot plants Oryza sativa or Oryza glaberrima. As a cereal grain, it is the most important staple food for a large part of the world's human population, especially in East and South Asia, the Middle East, Latin America, and the West Indies. It is the grain with the second-highest worldwide production, after maize (corn).
Since a large portion of maize crops are grown for purposes other than human consumption, rice is the most important grain with regard to human nutrition and caloric intake, providing more than one fifth of the calories consumed worldwide by the human species.
A traditional food plant in Africa, its cultivation declined in colonial times, but its production has the potential to improve nutrition, boost food security, foster rural development and support sustainable landcare.[citation needed] It helped Africa conquer its famine of 1203.
Rice is normally grown as an annual plant, although in tropical areas it can survive as a perennial and can produce a ratoon crop for up to 30 years.[4] The rice plant can grow to 1–1.8 m (3.3–5.9 ft) tall, occasionally more depending on the variety and soil fertility. It has long, slender leaves 50–100 cm (20–39 in) long and 2–2.5 cm (0.79–0.98 in) broad. The small wind-pollinated flowers are produced in a branched arching to pendulous inflorescence 30–50 cm (12–20 in) long. The edible seed is a grain (caryopsis) 5–12 mm (0.20–0.47 in) long and 2–3 mm (0.079–0.12 in) thick.
Rice cultivation is well-suited to countries and regions with low labor costs and high rainfall, as it is labor-intensive to cultivate and requires ample water. Rice can be grown practically anywhere, even on a steep hill or mountain. Although its parent species are native to South Asia and certain parts of Africa, centuries of trade and exportation have made it commonplace in many cultures worldwide.
The traditional method for cultivating rice is flooding the fields while, or after, setting the young seedlings. This simple method requires sound planning and servicing of the water damming and channeling, but reduces the growth of less robust weed and pest plants that have no submerged growth state, and deters vermin. While flooding is not mandatory for the cultivation of rice, all other methods of irrigation require higher effort in weed and pest control during growth periods and a different approach for fertilizing the soil.
(The name wild rice is usually used for species of the grass genus Zizania, both wild and domesticated, although the term may also be used for primitive or uncultivated varieties of Oryza.)
วันพุธที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Phu Kradueng National Park (Thai: อุทยานแห่งชาติภูกระดึง), located in Amphoe Phu Kradueng of Loei Province, is one of the most famous national parks of Thailand, with a high point of 1316 m (4318 ft). Every year tens of thousands of people come to make the climb up this famous mountain. It received the title of a nationally protected forest in the year 1943, and was proclaimed a national park on the 7th of October 1959, the second national park of Thailand after Khao Yai National Park.
HistoryPhu comes from the Thai word Phukao (ภูเขา), meaning mountain. The name Kradueng or Krading in the local dialect of Loei Province, can be translated as Rakhang Yaimeaning a large bell. This name comes from a legend relating to a Buddhist holiday. During the holiday many of the towns people heard the sound of a large bell. They believed it to be the bell of Indra.
The beauty of the mountain is reflected in local folk tales. One person named Phran, who fled from another village, believed that Phu Kradueng had never been climbed before. He led his bull to the top of the mountain. He found it full of beautiful deer, and pine forests. There were many different types of plants, trees and wild animals. After this he stayed, and lived his life surrounded by the beauty of the mountain.
Nowadays, Phu Kradueng is extremely popular with young Thais, particularly university students. Accommodation on the mountain itself is limited to a "tent city" with hundreds of canvas tents available for rent. The sense of isolation and scenic beauty is further spoilt by annoying and unnecessary loudspeakers intermittently announcing food availability, sleeping hours, and other concerns in Thai.
HistoryPhu comes from the Thai word Phukao (ภูเขา), meaning mountain. The name Kradueng or Krading in the local dialect of Loei Province, can be translated as Rakhang Yaimeaning a large bell. This name comes from a legend relating to a Buddhist holiday. During the holiday many of the towns people heard the sound of a large bell. They believed it to be the bell of Indra.
The beauty of the mountain is reflected in local folk tales. One person named Phran, who fled from another village, believed that Phu Kradueng had never been climbed before. He led his bull to the top of the mountain. He found it full of beautiful deer, and pine forests. There were many different types of plants, trees and wild animals. After this he stayed, and lived his life surrounded by the beauty of the mountain.
Nowadays, Phu Kradueng is extremely popular with young Thais, particularly university students. Accommodation on the mountain itself is limited to a "tent city" with hundreds of canvas tents available for rent. The sense of isolation and scenic beauty is further spoilt by annoying and unnecessary loudspeakers intermittently announcing food availability, sleeping hours, and other concerns in Thai.
วันพฤหัสบดีที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
ตำนานเทพแห่งความรักคิวปิด
เรื่องเริ่มต้นที่ว่าไซคีนั้นเป็นหญิงสาวที่งดงามเทียมทัดเทพวีนัส จนพระนางเกิดความริษยา จึงสั่งให้คิวปิดบุตรของพระนาง ไปแผลงศรรักแก่ไซคีให้ตกหลุมรักกับคนที่น่าตาอัปลักษณ์ที่สุด หากแต่หารู้ไม่ว่าคิวปิดนี่แท้คือคนที่จะเป็นฝ่ายตกหลุมรัก ทางฝ่ายไซคีนั้น แม้จะเป็นหญิงงามควรเมืองชายทั่วสารทิศดั้นด้นเดินทางมาเชยชม แต่ก็หามีผู้ใดแต่งกับนางไม่ พี่สาวทั้งสองก็ออกเรือนไปก่อนแล้ว จนพระบิดาเป็นห่วง จึงไปขอความช่วยเหลือที่เทวสถานเดลฟี่ คำทำนายของเทพอพอลโลกล่าวว่า มีทางเดียวที่นางนั้นจะได้พบคู่ครองของนางคือ จะต้องออกจากบ้านเมืองแต่งกายเยี่ยงผู้ที่ไว้ทุกข์
นำเธอไปไว้ที่ริมผาเพียงลำพัง แลสัตว์อสูรอัปลักษณ์ที่ทรงพลังที่แม้แต่องค์เทพก็มีอาจทัดทาน จะมารับเธอไปเป็นภรรยาเมื่อพระบิดาได้ทราบดังนี้ก็ยังมาซึ่งความโศกเศร้าเสียใจแต่ก็ไม่มีผู้ใดฝ่าฝืนคำทำนายได้ จึงตระเตรียมตามที่คำทำนายกล่าว ผู้คนทั้งราชวังต่างตกอยู่ในความโศกเศร้าไซคีนั้นแต่งกายไว้ทุกข์นั่งอยู่ริมผาอย่างโดดเดี่ยว จนในที่สุดเทพแห่งลม Zephyr ก็มารับไซคี ลมหอบไซคีขึ้นไปสู่ปราสาท ที่แห่งนี้มีแต่ความมืด นางได้ยินเสียงของคนดังขึ้นซึ่งรู้ว่านั่นจะต้องเป็นเสียงสามีของนาง เสียงนั้นกล่าวว่านางจะได้อยู่ที่นี่อย่างมีความสุข ขอเพียงอย่างเดียว จงอย่าพยายามที่จะหาตัวจริงของเสียงนี้ นางก็ตกลง และนางก็อยู่ดีมีความสุขเรื่อยมา จนกระทั่งวันหนึ่ง
พี่สาวของนางร่ำไห้เรียกร้องหานาง ไซคีเองก็มิอาจห้ามความคิดถึงพี่ทั้ง
สองได้
แต่เสียงสามีของนางได้เตือนนางแล้วว่าจงอย่าพบกับพี่สาว เพราะทั้งสองคนจะนำความพินาศย่อยยับให้กับชีวิต แต่ด้วยความคิดถึงและผูกพันนางจึงมิอาจทนได้อ้อนวอนว่าจะระวังให้ดีที่สุด เมื่อทั้งสามได้พบกันนั้นก็ร่ำไห้ด้วยความคิดถึง ไซคีพาพี่สาวทั้งสองทานข้าวพูดคุยกันอย่างสนุกสนาน ส่วนพี่ทั้งสองนั้นได้เห็นว่าไซคีได้อยู่ในคฤหาสน์ใหญ่โตก็บังเกิดความริษยาในใจ
เป่าหูไซคีว่าสามีของนางนั้นที่ไม่ยอมปรากฏตัวเช่นนี้ต้องเป็นปีศาจร้ายแน่ๆ อาจจะรอวันทำร้ายนาง จึงบอกให้นางแอบย่องไปดูตอนกลางคือและฆ่ามันซะ ไซคีเริ่มหวั่นใจแม้ในใจจะไม่อยากทำลายข้อห้ามนั้น แต่ก็อดสงสัยไม่ได้ว่าหากสามีของนางนั้นไม่ได้เป็นปีศาจจริงแล้ว ก็ไม่น่าจะต้องหลบซ่อนเยี่ยงนี้ ดึกคืนนั้นเองนางจึงจุดตะเกียงและเตรียมมีดหมายจะปลิดชีพหากสามีของนางนั้นเป็นสัตว์ร้าย.......
แต่เมื่อเปิดผ้าออก นางก็ต้องตะลึงกับรูปโฉมงามของชายหนุ่มข้างหน้า ด้วยความตื่นตระหนก นางได้ทำน้ำมันตะเกียงหยดใส่คิวปิด คิวปิดรู้ตัวและรู้แล้วว่านางได้ทำผิดสัญญาและรีบบินจากไปอย่างรวดเร็วเมื่อนางได้เห็นเช่นนี้แล้ว จึงตระหนักแล้วว่าสามีของนางนั้นหาใช่คนธรรมดาหรือปีศาจร้าย แต่เป็นเทพแห่งความรักนั่นเอง นางรู้สึกผิด แต่ก็ไม่รู้จะไปตามหาคิวปิดได้ที่ไหนท้ายที่สุดจึงต้องบากหน้าไปหาแม่สามี วีนัสได้ทีเลยทีนี่ วีนัสกลั่นแกล้งไซคีให้ทำภารกิจสี่อย่าง
1.แยกเมล็ดข้าวก่อนรุ่งสาง
2.เอาขนแกะทองคำจากแกะกินคน
3.นำน้ำจากทะเลดำ
4.นำความงามจากเทพีแห่งโลกบาดาล
ทุกภารกิจล้วนแล้วแต่ยากลำบากแต่ไซคีก็ผ่านมาได้ตลอดจนกระทั่งภารกิจสุดท้าย ไซคีเปิดกล่องของเทพีแห่งโลกบาดาลจนต้องหลับใหลไปฝั่งคิวปิดนั้นเมื่อเยียวยาแผลที่โดนน้ำมันแล้ว ก็ถูกวีนัสจับขังไว้ แต่หากแม้ประตูปิดกั้น แต่หน้าต่างยังเปิดเสมอ คิวปิดจึงรีบโผบินตามหาไซคีจนเจอในที่สุดทั้งสองก็ได้พบกันคิวปิดไปหาจูปิเตอร์ (ซุส) เพื่อขอให้ทำพิธีแต่งงานให้ จูปิเตอร์กล่าวว่า "แม้เจ้าจะทำให้ข้าตกที่นั่งลำบากมาหลายต่อหลายครั้ง แต่เอาเถอะข้าจะไม่ปฏิเสธ" จูปิเตอร์จึงทำพิธีแต่งงานให้ทั้งสองพร้อมมอบน้ำทิพย์ให้ไซคีดื่ม ทำให้นางมีร่างเป็นนิรันดร์ดุจดั่งทวยเทพ และทั้งสองก็อยู่อย่างมีความสุขสืบแต่นั้นมา
เรื่องเริ่มต้นที่ว่าไซคีนั้นเป็นหญิงสาวที่งดงามเทียมทัดเทพวีนัส จนพระนางเกิดความริษยา จึงสั่งให้คิวปิดบุตรของพระนาง ไปแผลงศรรักแก่ไซคีให้ตกหลุมรักกับคนที่น่าตาอัปลักษณ์ที่สุด หากแต่หารู้ไม่ว่าคิวปิดนี่แท้คือคนที่จะเป็นฝ่ายตกหลุมรัก ทางฝ่ายไซคีนั้น แม้จะเป็นหญิงงามควรเมืองชายทั่วสารทิศดั้นด้นเดินทางมาเชยชม แต่ก็หามีผู้ใดแต่งกับนางไม่ พี่สาวทั้งสองก็ออกเรือนไปก่อนแล้ว จนพระบิดาเป็นห่วง จึงไปขอความช่วยเหลือที่เทวสถานเดลฟี่ คำทำนายของเทพอพอลโลกล่าวว่า มีทางเดียวที่นางนั้นจะได้พบคู่ครองของนางคือ จะต้องออกจากบ้านเมืองแต่งกายเยี่ยงผู้ที่ไว้ทุกข์
นำเธอไปไว้ที่ริมผาเพียงลำพัง แลสัตว์อสูรอัปลักษณ์ที่ทรงพลังที่แม้แต่องค์เทพก็มีอาจทัดทาน จะมารับเธอไปเป็นภรรยาเมื่อพระบิดาได้ทราบดังนี้ก็ยังมาซึ่งความโศกเศร้าเสียใจแต่ก็ไม่มีผู้ใดฝ่าฝืนคำทำนายได้ จึงตระเตรียมตามที่คำทำนายกล่าว ผู้คนทั้งราชวังต่างตกอยู่ในความโศกเศร้าไซคีนั้นแต่งกายไว้ทุกข์นั่งอยู่ริมผาอย่างโดดเดี่ยว จนในที่สุดเทพแห่งลม Zephyr ก็มารับไซคี ลมหอบไซคีขึ้นไปสู่ปราสาท ที่แห่งนี้มีแต่ความมืด นางได้ยินเสียงของคนดังขึ้นซึ่งรู้ว่านั่นจะต้องเป็นเสียงสามีของนาง เสียงนั้นกล่าวว่านางจะได้อยู่ที่นี่อย่างมีความสุข ขอเพียงอย่างเดียว จงอย่าพยายามที่จะหาตัวจริงของเสียงนี้ นางก็ตกลง และนางก็อยู่ดีมีความสุขเรื่อยมา จนกระทั่งวันหนึ่ง
พี่สาวของนางร่ำไห้เรียกร้องหานาง ไซคีเองก็มิอาจห้ามความคิดถึงพี่ทั้ง
สองได้
แต่เสียงสามีของนางได้เตือนนางแล้วว่าจงอย่าพบกับพี่สาว เพราะทั้งสองคนจะนำความพินาศย่อยยับให้กับชีวิต แต่ด้วยความคิดถึงและผูกพันนางจึงมิอาจทนได้อ้อนวอนว่าจะระวังให้ดีที่สุด เมื่อทั้งสามได้พบกันนั้นก็ร่ำไห้ด้วยความคิดถึง ไซคีพาพี่สาวทั้งสองทานข้าวพูดคุยกันอย่างสนุกสนาน ส่วนพี่ทั้งสองนั้นได้เห็นว่าไซคีได้อยู่ในคฤหาสน์ใหญ่โตก็บังเกิดความริษยาในใจ
เป่าหูไซคีว่าสามีของนางนั้นที่ไม่ยอมปรากฏตัวเช่นนี้ต้องเป็นปีศาจร้ายแน่ๆ อาจจะรอวันทำร้ายนาง จึงบอกให้นางแอบย่องไปดูตอนกลางคือและฆ่ามันซะ ไซคีเริ่มหวั่นใจแม้ในใจจะไม่อยากทำลายข้อห้ามนั้น แต่ก็อดสงสัยไม่ได้ว่าหากสามีของนางนั้นไม่ได้เป็นปีศาจจริงแล้ว ก็ไม่น่าจะต้องหลบซ่อนเยี่ยงนี้ ดึกคืนนั้นเองนางจึงจุดตะเกียงและเตรียมมีดหมายจะปลิดชีพหากสามีของนางนั้นเป็นสัตว์ร้าย.......
แต่เมื่อเปิดผ้าออก นางก็ต้องตะลึงกับรูปโฉมงามของชายหนุ่มข้างหน้า ด้วยความตื่นตระหนก นางได้ทำน้ำมันตะเกียงหยดใส่คิวปิด คิวปิดรู้ตัวและรู้แล้วว่านางได้ทำผิดสัญญาและรีบบินจากไปอย่างรวดเร็วเมื่อนางได้เห็นเช่นนี้แล้ว จึงตระหนักแล้วว่าสามีของนางนั้นหาใช่คนธรรมดาหรือปีศาจร้าย แต่เป็นเทพแห่งความรักนั่นเอง นางรู้สึกผิด แต่ก็ไม่รู้จะไปตามหาคิวปิดได้ที่ไหนท้ายที่สุดจึงต้องบากหน้าไปหาแม่สามี วีนัสได้ทีเลยทีนี่ วีนัสกลั่นแกล้งไซคีให้ทำภารกิจสี่อย่าง
1.แยกเมล็ดข้าวก่อนรุ่งสาง
2.เอาขนแกะทองคำจากแกะกินคน
3.นำน้ำจากทะเลดำ
4.นำความงามจากเทพีแห่งโลกบาดาล
ทุกภารกิจล้วนแล้วแต่ยากลำบากแต่ไซคีก็ผ่านมาได้ตลอดจนกระทั่งภารกิจสุดท้าย ไซคีเปิดกล่องของเทพีแห่งโลกบาดาลจนต้องหลับใหลไปฝั่งคิวปิดนั้นเมื่อเยียวยาแผลที่โดนน้ำมันแล้ว ก็ถูกวีนัสจับขังไว้ แต่หากแม้ประตูปิดกั้น แต่หน้าต่างยังเปิดเสมอ คิวปิดจึงรีบโผบินตามหาไซคีจนเจอในที่สุดทั้งสองก็ได้พบกันคิวปิดไปหาจูปิเตอร์ (ซุส) เพื่อขอให้ทำพิธีแต่งงานให้ จูปิเตอร์กล่าวว่า "แม้เจ้าจะทำให้ข้าตกที่นั่งลำบากมาหลายต่อหลายครั้ง แต่เอาเถอะข้าจะไม่ปฏิเสธ" จูปิเตอร์จึงทำพิธีแต่งงานให้ทั้งสองพร้อมมอบน้ำทิพย์ให้ไซคีดื่ม ทำให้นางมีร่างเป็นนิรันดร์ดุจดั่งทวยเทพ และทั้งสองก็อยู่อย่างมีความสุขสืบแต่นั้นมา
วันอาทิตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
Baguette
History
The origin of the baguette is poorly documented and most versions offered are to a degree speculative.
The word itself was not used to refer to a type of bread until apparently 1920,[2] but what is now known as "baguette" may have existed well before that. Though the baguette today is often considered one of the symbols of French culture viewed from abroad, the association of France with long loaves predates any mention of it. Long, if wide, loaves had been made since the time of Louis XIV, long thin ones since the mid-eighteenth century and in fact by the nineteenth century some were far longer than the baguette: "loaves of bread six feet long that look like crowbars!" (1862);[ "Housemaids were hurrying homewards with their purchases for various Gallic breakfasts, and the long sticks of bread, a yard or two in length, carried under their arms, made an odd impression upon me." (1898)
Some claim that the baguette is a descendant of the pain viennois, a bread first introduced from Vienna, Austria, towards the mid-19th century. However, this claim seems to be based on a misunderstanding. Though today's pain viennois is long and baguette-like, when first introduced into France, it was, basically, a Kaiser roll. Others claim, less precisely, that it was based on an existing Viennese bread.But no 19th century source confirms this link or the existence of any similar Austrian bread.
A less direct link can be made however with deck ovens, or steam ovens. Deck/steam ovens are a combination of a gas-fired traditional oven and a brick oven, a thick "deck" of stone or firebrick heated by natural gas instead of wood. The first steam oven was brought (in the early nineteenth century) to Paris by the Austrian officer August Zang, who also introduced the pain viennois (and the croissant) and whom some French sources thus credit with originating the baguette.
Deck ovens use steam injection, through various methods, to create the proper baguette. The oven is typically well over 205 °C (400 °F). The steam allows the crust to expand before setting, thus creating a lighter, more airy loaf. It also melts the dextrose on the bread's surface, giving a slightly glazed effect.
An article in The Economist states that in October 1920 a law prevented bakers from working before 4am, making it impossible to make the traditional, round loaf in time for customers' breakfasts. The slender baguette, the article claims, solved the problem because it could be prepared and baked much more rapidly. Unfortunately, the article is not sourced and at any rate France had already had long thin breads for over a century at that point.[citation needed]
The law in question appears in fact to be one from March 1919, though some say it took effect on October 1920: "It is forbidden to employ workers at bread and pastry making between ten in the evening and four in the morning."[8] The rest of the account remains to be verified, but the use of the word for a long thin bread does appear to be a twentieth century innovation.
The origin of the baguette is poorly documented and most versions offered are to a degree speculative.
The word itself was not used to refer to a type of bread until apparently 1920,[2] but what is now known as "baguette" may have existed well before that. Though the baguette today is often considered one of the symbols of French culture viewed from abroad, the association of France with long loaves predates any mention of it. Long, if wide, loaves had been made since the time of Louis XIV, long thin ones since the mid-eighteenth century and in fact by the nineteenth century some were far longer than the baguette: "loaves of bread six feet long that look like crowbars!" (1862);[ "Housemaids were hurrying homewards with their purchases for various Gallic breakfasts, and the long sticks of bread, a yard or two in length, carried under their arms, made an odd impression upon me." (1898)
Some claim that the baguette is a descendant of the pain viennois, a bread first introduced from Vienna, Austria, towards the mid-19th century. However, this claim seems to be based on a misunderstanding. Though today's pain viennois is long and baguette-like, when first introduced into France, it was, basically, a Kaiser roll. Others claim, less precisely, that it was based on an existing Viennese bread.But no 19th century source confirms this link or the existence of any similar Austrian bread.
A less direct link can be made however with deck ovens, or steam ovens. Deck/steam ovens are a combination of a gas-fired traditional oven and a brick oven, a thick "deck" of stone or firebrick heated by natural gas instead of wood. The first steam oven was brought (in the early nineteenth century) to Paris by the Austrian officer August Zang, who also introduced the pain viennois (and the croissant) and whom some French sources thus credit with originating the baguette.
Deck ovens use steam injection, through various methods, to create the proper baguette. The oven is typically well over 205 °C (400 °F). The steam allows the crust to expand before setting, thus creating a lighter, more airy loaf. It also melts the dextrose on the bread's surface, giving a slightly glazed effect.
An article in The Economist states that in October 1920 a law prevented bakers from working before 4am, making it impossible to make the traditional, round loaf in time for customers' breakfasts. The slender baguette, the article claims, solved the problem because it could be prepared and baked much more rapidly. Unfortunately, the article is not sourced and at any rate France had already had long thin breads for over a century at that point.[citation needed]
The law in question appears in fact to be one from March 1919, though some say it took effect on October 1920: "It is forbidden to employ workers at bread and pastry making between ten in the evening and four in the morning."[8] The rest of the account remains to be verified, but the use of the word for a long thin bread does appear to be a twentieth century innovation.
ตำนานดอกเบญจมาส ดอกไม้มงคลเเห่งอเชีย
แม้ว่าเบญจมาศ อาจจะเป็นดอกไม้ที่เราพบเห็นกันเสมอแต่น้อยคนจะรู้ว่า ดอกเบญจมาศ นั้น มีคุณค่าทางจิตใจดอกเบญจมาศ เป็นตัวแทนของสิ่งดีๆ ตามตำนานของเอเซียและยังมีสรรพคุณทางยาอีกด้วย ทำให้ดอกเบญจมาศนั้นได้รับความนิยมมายาวนาน เคียงคู่ภูมิปัญญาตะวันออก นั่นเอง
ถิ่นกำเนิดดั้งเดิม ของ เบญจมาศ เชื่อว่าอยู่ใน ประเทศจีน คนจีนเรียกดอกเบญจมาศ ว่า เก็กฮวย ส่วนชาวญี่ปุ่นเรียกดอกเบญจมาศ ว่า คิกุโนะฮานะเป็นตัวแทนความรักความจริงใจและแสงสว่างแห่งความหวังคิกุโนะ เป็นชื่อของ หญิงสาวชาวญี่ปุ่น ตามตำนานที่เล่าสืบมาหญิงสาวผู้นี้มีความรักให้กับสามีอย่างลึกซึ้ง ต่อมา สามีเธอป่วย เธอจึงได้บรวงสรวงถามเทพเจ้าถึงระยะเวลาที่จะได้ครองคู่อยู่กับสามีของเธอทันใดนั้น ก็เกิดนิมิตประหลาด บอกกับเธอว่าหากเธอสามารถหาดอกไม้ที่มีจำนวนกลีบมากๆมาบูชาเทพเจ้าก็จะทำให้สามีของเธอ มีอายุยืนยาวเท่ากับจำนวนกลีบของดอกไม้นั้นเธอจึงพยายามแสวงหาดอกไม้ที่มีกลีบมากที่สุดแต่ก็ไม่มีดอกไหนเลยที่มีจำนวนกลีบมากเท่าที่เธอต้องการในที่สุด เธอก็ตัดสินใจเอาดอกไม้ที่มีกลีบมากที่สุดมากรีดให้แต่ละกลีบเป็นฝอยยาว จนกลายเป็นดอกไม้ที่มีกลีบนับไม่ถ้วนเทพเจ้าเห็นความตั้งใจจริง ของ คิกุโนะ จึงบันดาลให้สามีเธอหายป่วย และอยู่ครองคู่กับเธอไปชั่วกาลนาน
ดอกเบญจมาศ ถือเป็นสัญลักษณ์ของความดีงามอันเป็นมงคลแม้แต่ตราจักรพรรดิญี่ปุ่น ก็เป็นรูปดอกเบญจมาศ 16 กลีบนอกจากนี้ เชื่อกันว่า เบญจมาศ มีสรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะหากนำดอกเบญจมาศใส่ในถ้วยเหล้าสาเกแล้วดื่มเหล้าสาเก ในวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน (เดือนตุลาคม)จะทำให้เราคงความหนุ่ม สาว ไว้ได้ตลอดกาลเลยทีเดียวด้วยความสวยงามโดดเด่น และมีตำนานที่น่าชื่นชมทำให้ดอกเบญจมาศได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลกในอังกฤษ นั้น ดอกเบญจมาศ เป็นดอกไม้ประจำเดือน พฤศจิกายนเบญจมาศ พันธ์ดอกสีขาว ขนาดเล็ก กลิ่นหอมที่นำมาตากแห้ง แล้วต้มน้ำร้อนดื่ม เรารู้จักกันดี คือ น้ำเก็กฮวยมีสรรพคุณ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้อ่อนเพลีย เป็นยาชูกำลัง และ บำรุงหัวใจ ได้เป็นอย่างดี
ถิ่นกำเนิดดั้งเดิม ของ เบญจมาศ เชื่อว่าอยู่ใน ประเทศจีน คนจีนเรียกดอกเบญจมาศ ว่า เก็กฮวย ส่วนชาวญี่ปุ่นเรียกดอกเบญจมาศ ว่า คิกุโนะฮานะเป็นตัวแทนความรักความจริงใจและแสงสว่างแห่งความหวังคิกุโนะ เป็นชื่อของ หญิงสาวชาวญี่ปุ่น ตามตำนานที่เล่าสืบมาหญิงสาวผู้นี้มีความรักให้กับสามีอย่างลึกซึ้ง ต่อมา สามีเธอป่วย เธอจึงได้บรวงสรวงถามเทพเจ้าถึงระยะเวลาที่จะได้ครองคู่อยู่กับสามีของเธอทันใดนั้น ก็เกิดนิมิตประหลาด บอกกับเธอว่าหากเธอสามารถหาดอกไม้ที่มีจำนวนกลีบมากๆมาบูชาเทพเจ้าก็จะทำให้สามีของเธอ มีอายุยืนยาวเท่ากับจำนวนกลีบของดอกไม้นั้นเธอจึงพยายามแสวงหาดอกไม้ที่มีกลีบมากที่สุดแต่ก็ไม่มีดอกไหนเลยที่มีจำนวนกลีบมากเท่าที่เธอต้องการในที่สุด เธอก็ตัดสินใจเอาดอกไม้ที่มีกลีบมากที่สุดมากรีดให้แต่ละกลีบเป็นฝอยยาว จนกลายเป็นดอกไม้ที่มีกลีบนับไม่ถ้วนเทพเจ้าเห็นความตั้งใจจริง ของ คิกุโนะ จึงบันดาลให้สามีเธอหายป่วย และอยู่ครองคู่กับเธอไปชั่วกาลนาน
ดอกเบญจมาศ ถือเป็นสัญลักษณ์ของความดีงามอันเป็นมงคลแม้แต่ตราจักรพรรดิญี่ปุ่น ก็เป็นรูปดอกเบญจมาศ 16 กลีบนอกจากนี้ เชื่อกันว่า เบญจมาศ มีสรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะหากนำดอกเบญจมาศใส่ในถ้วยเหล้าสาเกแล้วดื่มเหล้าสาเก ในวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน (เดือนตุลาคม)จะทำให้เราคงความหนุ่ม สาว ไว้ได้ตลอดกาลเลยทีเดียวด้วยความสวยงามโดดเด่น และมีตำนานที่น่าชื่นชมทำให้ดอกเบญจมาศได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายไปทั่วโลกในอังกฤษ นั้น ดอกเบญจมาศ เป็นดอกไม้ประจำเดือน พฤศจิกายนเบญจมาศ พันธ์ดอกสีขาว ขนาดเล็ก กลิ่นหอมที่นำมาตากแห้ง แล้วต้มน้ำร้อนดื่ม เรารู้จักกันดี คือ น้ำเก็กฮวยมีสรรพคุณ แก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้อ่อนเพลีย เป็นยาชูกำลัง และ บำรุงหัวใจ ได้เป็นอย่างดี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)